Search

โรงไฟฟ้า

ไทม์ไลน์แนวคิดการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย

ไทยมีแนวคิดเรื่องพลังงานนิวเคลียร์มาตั้งแต่ 2504 แต่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

จำนวนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก

มี 33 ประเทศทั่วโลกที่มีโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ โดยเยอรมนีเพิ่งปิดทุกโรงไปเมื่อ เม.ย. 2023

[ชุดข้อมูล] โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์

ข้อมูลประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ทั่วโลก, Timeline การตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย, แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า (PDP) ที่มีโครงการตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในไทย มีแผนมาตั้งแต่เมื่อไร ทั่วโลกใครใช้บ้าง

พาไปสำรวจทั่วโลกว่ามีประเทศไหนบ้างที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มีเท่าไร เพราะอะไร หรือยุบทิ้งไปแล้วเพราะอะไร ตลอดจนแนวคิดของไทยในการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

แผน PDP ขาดประสิทธิภาพ นำไปสู่การลงทุนในโรงไฟฟ้าเกินความจำเป็น

PDP แต่ละฉบับกำหนดกำลังการผลิตไฟฟ้าไว้เท่าไร

ส่วนแบ่งการตลาดของโรงไฟฟ้าเอกชนในการผลิตไฟฟ้า

ไม่ว่าโรงไฟฟ้าใหญ่หรือเล็กก็พบทั้ง 7 บริษัทนี้กระจายตัวอยู่

การพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงเกินจริง และการสร้างโรงไฟฟ้าเกินความจำเป็น

การพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงเกินจริงตลอด 20 ปีที่ผ่านมาในแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า (Power Development Plan: PDP) ส่งผลให้รัฐอนุมัติการสร้างโรงไฟฟ้าของทั้งรัฐและเอกชนมากเกินความจำเป็น ขณะที่โรงไฟฟ้าที่มีอยู่และทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าไปแล้วก็ไม่ได้เดินเครื่องอย่างเต็มศักยภาพ เนื่องจากการใช้ไฟจริงน้อยกว่ากำลังการผลิตที่มีในระบบมาก  แต่ในขณะเดียวกัน ทุกๆ ปี รัฐก็ยังเซ็นสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพิ่มมาโดยตลอด จากข้อมูลจะเห็นว่า ปี 2559 มีกำลังการผลิตอยู่ 41,556 เมกะวัตต์ แต่ในขณะเดียวกันมีกำลังการผลิตที่เกิดขึ้นจริงเพียง 21,486 เมกะวัตต์ เท่ากับว่า ยังมีโรงไฟฟ้าผลิตเพิ่มได้อีก 20,070 เมกะวัตต์ แต่รัฐยังเดินหน้าเซ็นสัญญากับโรงไฟฟ้าใหม่เพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวน 24 โรง คิดเป็นกำลังการผลิตรวมอีก 6,299 เมกะวัตต์ เงินที่ต้องจ่ายไปกับการทำสัญญาซื้อไฟฟ้าเพิ่มขึ้นแม้ว่าจะมีกำลังในระบบเกินพอ ก็กลับมาอยู่ในบิลค่าไฟของเราทุกคน นอกจากนี้ อีกประเด็นสำคัญคือ สัญญาซื้อขายไฟฟ้าถูกจัดให้เป็น ‘ความลับ’ ของภาครัฐและผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน แม้สัญญาจะผูกพันและสร้างภาระให้กับประชาชนระยะยาว 15-35 ปีก็ตาม ประชาชนจะทราบข่าวก็ต่อเมื่อมีการลงนามซื้อขายในสัญญาไปแล้ว แม้จะมีการเรียกร้องให้รัฐเปิดเผยรายละเอียดสัญญา แต่ก็ถูกปฏิเสธ ทำให้เราในฐานะผู้บริโภคยิ่งห่างไกลจากการมีส่วนร่วมในการกำหนดค่าไฟของเราเอง

ภาคประชาชนเรียกร้องปิดสวิตช์ตัวการจริงที่ทำให้ค่าไฟแพง

ภาคประชาชนจัดเวทีเสวนาคู่ขนานวัน Earth Hour เปิดโครงสร้างปัญหาค่าไฟไม่แฟร์ และชวนปิดสวิตช์ตัวการทำค่าไฟแพง

ความไม่เป็นธรรมของค่าไฟ

ในยุคที่เรียกกันติดปากว่า “ของแพง ค่าแรงถูก” ปัญหาหนักอกของคนไทยทั้งประเทศก็คือ สินค้า และบริการที่กำลังขึ้นราคานั้นหลายชนิดไม่ใช่ของหรูหราราคาแพงที่นานๆ เราจะซื้อที แต่เป็นของที่เราจำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็น ค่าน้ำมัน ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ไม่เว้นแม้แต่ “ค่าไฟฟ้า” สาธารณูปโภคพื้นฐานที่ขาดไม่ได้ในวิถีชีวิตสมัยใหม่

ประเทศไทยบนทางแพร่งของการเปลี่ยนผ่านพลังงาน

เรากำลังยืนอยู่บนทางแพร่งระหว่างการเดินหน้าสู่พลังงานหมุนเวียนเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การพึ่งพาก๊าซธรรมชาติเพื่อความมั่นคงพลังงาน รวมถึงการเป็นศูนย์กลางการซื้อขาย LNG ของภูมิภาค